หน้าเว็บ

วันศุกร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2557

What time is it?


การบอกเวลาเป็นภาษาอังกฤษง่ายนิดเดียว


      เวลา อย่างที่ทุกคนเคยได้เรียนมาตั้งแต่เด็กๆ เราก็จะมักชินกับคำว่า “What time is it?”?
      ถามได้แต่บางคนตอบไม่ได้ .. แล้วยิ่งเวลาผ่านไปนานปี ภาษาอังกฤษนั้นเราก็ไม่ได้นำมาใช้
      การอีกเลย จนทำให้ลืมหายไป! แต่พอเราโตขึ้นภาษาอังกฤษนั้นกลับมาความสำคัญต่อการใช้ชีวิต               ของเราอีกนะะซิ งั้นเรามาฟื้นความทรงจำกันหน่อยดีกว่าเนอะ!! :)




การบอกเวลาเป็นภาษาอังกฤษนั้น จะมี 2 แบบ คือ.......
  •  British English
  •  American English
     ซึ่ง 2 แบบนี้จะมีวิธีการเรียกเวลาที่แตกต่างกัน ดูซิว่าใครชอบแบบไหนมากกว่ากัน *_*

    1. แบบ British English

      ระบบเวลาจะเป็นแบบ 12 ชั่วโมง (12 hour clock) โดยจะใช้เลข 1 ถึง 12 
      ตามด้วย a.m.และ p.m.

- a.m.  =  ante meridiem คือ หลังเที่ยงคืน ถึง ก่อนเที่ยงวัน ( 00.01 a.m. ? 11.59 a.m.)
- p.m.  =  post meridiem  คือ หลังเที่ยงวัน ถึง ก่อนเที่ยงคืน (12.00 p.m. ? 11.59 p.m.)
     เวลาเต็มชั่วโมง ให้เติมคำว่า o'clock ต่อท้ายเวลา อาจเติมคำบอกเวลาหรือพูด 
        a.m. และ p.m. เพื่อให้สามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น 
สำหรับเวลาเที่ยงวันให้ใช้ noon และเที่ยงคืนให้ใช้ midnight
- 10.00 a.m. ten o'clock in the morning / ten a.m.
- 04.00 p.m. four o'clock in the afternoon / four p.m.
เวลาที่ผ่านชั่วโมงมาแล้ว แต่ไม่เกิน 30 นาที ให้บอกนาทีนำหน้าตามด้วย past และชั่วโมงที่ผ่านมา เช่น
- 09.25 a.m. twenty-five past nine
- 05.12 p.m. twelve past five
เวลาที่ผ่านชั่วโมง และเกิน 30 นาทีมาแล้ว ให้บอกนาทีที่เหลือก่อนจะถึงชั่วโมงถัดไป
ตามด้วย to และชั่วโมงถัดไปเช่น
- 07.50 a.m. ten to eight
- 08.40 p.m. twenty to nine
หากนาฬิกาเป็น เวลา 15 นาทีหรือ 45 นาที ให้ใช้คำว่า a quarter และหากเป็น 30 นาที 
ให้ใช้ half เช่น
- 06.15 a.m. a quarter past six
- 06.30 a.m. half past six
- 06.45 a.m. a quarter to seven


  2. แบบAmerican English
       ใช้ระบบเวลาแบบ 24 ชั่วโมง (24-hour clock) ใช้ตั้งแต่เลข 0 ไปจนถึง 24 เลย 
       ซึ่งจะไม่มี a.m. และ p.m. วิธีพูดคือ จะบอกเลขชั่วโมงก่อนตามด้วยเลขนาที มักจะใช้ใน
       ทางทหารหรืองานที่เป็นทางการหน่อยเพื่อไม่ให้สับสน เช่น
- 20.15 twenty fifteen
- 08.05 eight O five ใช้เสียง O (โอ) แทนเลขศูนย์
- 17.50 seventeen fifty
เทคนิคเล็กน้อย   การบอกเวลาสามารถเติมคำประมาณได้ด้วย เช่น aboutaround หรือ nearly 
   เช่น
- 08.02 = It's about eight o clock
- 09.27 = It's nearly half past nine
ส่วนคำถามเรื่องของ เวลา นั้น โดยทั่วไปเราจะถามได้หลายประโยคค่ะ เช่นต่อไปนี้
  1. What?s the time?
  2. What time is it?
  3. Do you have the time?
  4. Have you got the time?
  5. What time do you make it?

************************************************************************

Video


try to answer.....what time is it? 



Enjoy with  >>>>>  Time Game!



Adverb of frequency คืออะไร


Adverb of Frequency  

           คือ กริยาวิเศษณ์บอกความถี่ หรือบอกความบ่อยๆ หมายถึง คำ หรือ กลุ่มคำที่ไปทำ        หน้าที่ขยายกริยาเพื่อตอบคำถามว่า  How often (บ่อยแค่ไหน)  

alwaysเป็นประจำ, อย่างสมํ่าเสมอ
oftenบ่อยๆ
frequentlyบ่อยๆ
usuallyโดยปกติ
sometimesบางครั้ง
mostlyโดยส่วนใหญ่
normallyโดยปกติแล้ว
generallyโดยทั่วไป
repeatedlyซ้ำไปซ้ำมา
occasionallyในบางโอกาส
*seldomไม่ค่อยจะ, นานๆครั้ง
*hardlyแทบจะไม่
*barelyแทบจะไม่
*rarelyแทบจะไม่
*scarcelyแทบจะไม่
*neverไม่เคย

*คำว่า seldom, hardly, barely, rarely, scarcely, never เป็นคำที่มีความหมายเป็นเชิงปฏิเสธอยู่แล้ว เราจึงไม่ควรทำให้ประโยคเป็นรูปปฏิเสธอีก เมื่อใช้คำเหล่านี้  เช่น

                   I hardly cook. = ฉันแทบจะไม่เคยทำกับข้าวเลย

                   I never work on the weekend. = ฉันไม่เคยทำงานในช่วงวันหยุดเลย


     หากสรุปเป็น % จะได้คร่าวๆดังรูปด้านล่างดังนี้


     ตัวอย่างการใช้

            I always brush my teeth before I go to bed.
            I usually have toast for breakfast.
            I often go to the park with my dog.
            I sometimes drinks tea.
            I rarely smoke cigars.
            I seldom have a chance to go to the theatre.
            I never eat pork.


และนอกจากคำเหล่านี้ยังมี Adverbs อีกมากมายที่สามารถนำมาใช้ในการบ่งบอกถึงความถี่ได้ เช่น

infrequentlyนานๆที
habituallyทำเป็นประจำจนเป็นนิสัย
chieflyโดยส่วนใหญ่
continuouslyติดต่อกัน, เรื่อยๆ
constantlyสม่ำเสมอ
commonlyโดยทั่วไป
regularlyสม่ำเสมอ
sporadicallyนานๆครั้ง
periodicallyเป็นบางครั้งบางคราว
intermittentlyเป็นพักๆ
spasmodicallyเป็นพักๆ

และนอกจากคำเหล่านี้แล้ว ยังกลุ่มคำที่ผสมกันซึ่งสามารถแสดงถึงความถี่ได้ เช่น once a week, twice a day, every year และอื่นๆ


ตำแหน่งในการวาง Adverbs of Frequency


1.หากประโยคมี Verb to be เราจะต้องใส่ Adverbs of Frequency ไปหลัง Verb นั้นๆ
 
Verb to be
Adverb of Frequency
Anna
Is
always
late
Anna
Isn’t
usually
late

2.หากประโยคมีการใช้ Main Verb จะต้องใส่ Adverbs of Frequency ไปหน้า Verb นั้นๆ

Adverb of Frequency
Main Verb
Anna
always
watches
a television
 
3. เมื่อใดก็ตามที่ประโยคมี การใช้ Auxiliary Verb (กริยาช่วย) หรือ ประโยคนั้นเป็นประโยคปฏิเสธ เรามักจะใส่ Adverbs of Frequency ไปข้างหลัง Auxiliary Verb นั้นๆ
 
Auxiliary Verb
Adverb of Frequency
Main Verb
Anna
can
never
come
early
Anna
doesn’t
usually
read
books
Anna
has
always
cooked

*เราสามารถเติม Adverbs of Frequency ไปหลัง may, might, can, could และอื่นๆได้ ยกเว้น “have to” และ “used to” Adverb จะต้องอยู่ด้านหน้าเสมอ เช่น I always have to go to a hospital. / I usually used to go trekking.
 
4. หากเป็นประโยคคำถาม ให้เรานำ Adverb of frequency มาวางไว้หน้า Main Verb
 
Adverb of Frequency
Main Verb
Do
you
often
stay
home?
Have
you
never
been
to China?
 
5. เราสามารถวาง Adverbs of Frequency บางตัว ไว้หน้าประโยคได้

Sometimes we sleep in a classroom.
We play football occasionally.


****************************************************************


video

How to speak about adverb of frequency?!





v
v
v
v
v
v





วันพฤหัสบดีที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2557

การใช้ present simple tense



Present Simple Tense 




  โครงสร้างประโยค  คือ   Subject + Verb 1
        
          ใช้กับเหตุการณ์
1. ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่เป็นความจริงตลอดไปหรือเป็นความจริงตามธรรมชาติ 
เช่น 
          - The sun rises in the east.
            พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก
          - Fire is hot. 
            ไฟร้อน 
       2. ใช้กับการกระทำที่ทำจนเป็นนิสัย มักจะมีกลุ่มคำที่มีความหมายว่า เสมอๆ บ่อยๆ ทุกๆ อยู่ด้วยเช่น             
         - I get up at six o’clock everyday. 
           ฉันตื่นนอนเวลา นาฬิกาทุกวัน  
         - She eats breakfast at seven o'clock everyday.   
           ฉันรับประทานอาหารเช้าเวลา 7 นาฬิกาทุกวัน
                                                                     
หลักการจำและนำไปใช้
         1.  ประธาน  He, She, It  หรือ 1 เดียวเท่านั้นต้องเติม s หรือ es  ท้ายคำกริยาด้วยมีกริยาช่วย
คือ does 
            2.  ประธาน I, You, We, They, หรือ 2 ขึ้นไป กริยาเหมือนเดิม มีกริยาช่วย คือ  do
3.  do และ does  ใช้ในประโยค คำถามและปฏิเสธ
4.  ในประโยคมีคือ does กริยาไม่ต้องเติม s / es

ชนิดของประโยค
    1. ประโยคบอกเล่า 

        Subject + Verb1 + (Object).  
 เช่น
                 She likes English .
                 Jack plays football everyday.
                  I like Thai .   
                 Jack and his friends play football everyday.

     2. ประโยคคำถาม
           2.1  Yes/No question
                  ใช้  Do, Does + ประธาน + กริยา ?  

                 Does she like English? 
                 Does Jack play football everyday?                 
                 Do you like Thai?
                 Do Jack and his friends play football everyday?

            การตอบแบบ Short answer  
                 Yes, he/she/it does.
                 No, he/she/it doesn’t.

                 Yes, I/you/we/they do.
                 No, I/you/we/they don’t.
        
    2.2   ใช้ Question words 

What/ Where/ When / Why/……+ do/does+ประธาน +กริยา.…?

เช่น
          
           Q: What do you eat for lunch?       
            A:  I eat noodles.

                    Q: Where does Jim go Mondays? 
                     A:  He goes to school.

                                 Q: How do they go to school?      
                                 A: They go to school by school bus.


     3. ประโยคปฏิเสธ
  ใช้ do not (don’t), does not (doesn’t) ตามด้วยคำกริยาแท้รูปเดิม         
   
                    I don’t like Thai.

                    She doesn’t like English.   

                    Jack doesn’t play football everyday.         
                                                                                   
หลักการเติม s ที่คำกริยา
1.กริยาที่ลงท้ายด้วย o, s, x, chssและ sh,  ให้เติม es เช่น
         pass - passes = ผ่าน      
   brush - brushes = แปรงฟัน    
   catch - catches = จับ                 
   go - goes = ไป        
   box - boxes = ชก
2.กริยาที่ลงท้ายด้วย และหน้า y ไม่ใช่  a e i o u ให้เปลี่ยน เป็น i แล้วเติม es
            study studies เรียน,          
            cry - cries = ร้องไห้,       
            fry - fries = ทอด    
3. กริยาที่นอกเหนือจากที่ไม่เข้ากฎในข้อ และ ข้อ ให้เติม ได้เลย

Adverb of Frequency  ใช้ขยายคำกริยา เพื่อบอกถึงความถี่ของการกระทำ และจะวางไว้หน้าคำกริยานั้นๆด้วย ยกเว้น sometimes อยู่ ต้นประโยคก็ได้ เช่น
       


always    สม่ำเสมอ  100 %                usually    เป็นประจำ 80 % 
often       บ่อยๆ 60 %             sometimes    บางครั้งบางคราว 30 % 
 seldom    นานๆครั้ง 10 %       never     ไม่เคย 0 %

Examples:
      Sandy always goes to school early.
      Mary usually cooks dinner.
      We often drink milk.
      I never go to London.
                       Sometimes I eat pizza for lunch.

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++

"Video"