โครงสร้างประโยค คือ Subject + Verb 1
ใช้กับเหตุการณ์
1. ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่เป็นความจริงตลอดไปหรือเป็นความจริงตามธรรมชาติ
เช่น
- The sun rises in the east.
พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก
- Fire is hot.
ไฟร้อน
เช่น
- The sun rises in the east.
พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก
- Fire is hot.
ไฟร้อน
2. ใช้กับการกระทำที่ทำจนเป็นนิสัย มักจะมีกลุ่มคำที่มีความหมายว่า เสมอๆ บ่อยๆ ทุกๆ อยู่ด้วยเช่น
- I get up at six o’clock everyday.
ฉันตื่นนอนเวลา 6 นาฬิกาทุกวัน
- She eats breakfast at seven o'clock everyday.
ฉันรับประทานอาหารเช้าเวลา 7 นาฬิกาทุกวัน
- I get up at six o’clock everyday.
ฉันตื่นนอนเวลา 6 นาฬิกาทุกวัน
- She eats breakfast at seven o'clock everyday.
ฉันรับประทานอาหารเช้าเวลา 7 นาฬิกาทุกวัน
หลักการจำและนำไปใช้
1. ประธาน He, She, It หรือ 1 เดียวเท่านั้นต้องเติม s หรือ es ท้ายคำกริยาด้วยมีกริยาช่วย
คือ does
คือ does
2. ประธาน I, You, We, They, หรือ 2 ขึ้นไป กริยาเหมือนเดิม มีกริยาช่วย คือ do
3. do และ does ใช้ในประโยค คำถามและปฏิเสธ
4. ในประโยคมีคือ does กริยาไม่ต้องเติม s / es
ชนิดของประโยค
1. ประโยคบอกเล่า
Subject + Verb1 + (Object).
เช่น
Subject + Verb1 + (Object).
เช่น
She likes English .
Jack plays football everyday.
I like Thai .
Jack and his friends play football everyday.
2. ประโยคคำถาม
2.1 Yes/No question
ใช้ Do, Does + ประธาน + กริยา ?
Does she like English?
Does Jack play football everyday?
Do you like Thai?
Do Jack and his friends play football everyday?
การตอบแบบ Short answer
Yes, he/she/it does.
No, he/she/it doesn’t.
Yes, I/you/we/they do.
No, I/you/we/they don’t.
2.2 ใช้ Question words
What/ Where/ When / Why/……+ do/does+ประธาน +กริยา….…?
เช่น
What/ Where/ When / Why/……+ do/does+ประธาน +กริยา….…?
เช่น
Q: What do you eat for lunch?
A: I eat noodles.
Q: Where does Jim go Mondays?
A: He goes to school.
Q: How do they go to school?
A: They go to school by school bus.
A: I eat noodles.
Q: Where does Jim go Mondays?
A: He goes to school.
Q: How do they go to school?
A: They go to school by school bus.
3. ประโยคปฏิเสธ
ใช้ do not (don’t), does not (doesn’t) ตามด้วยคำกริยาแท้รูปเดิม
I don’t like Thai.
She doesn’t like English.
Jack doesn’t play football everyday.
ใช้ do not (don’t), does not (doesn’t) ตามด้วยคำกริยาแท้รูปเดิม
I don’t like Thai.
She doesn’t like English.
Jack doesn’t play football everyday.
หลักการเติม s ที่คำกริยา
1.กริยาที่ลงท้ายด้วย o, s, x, ch, ss, และ sh, ให้เติม es เช่น
pass - passes = ผ่าน
brush - brushes = แปรงฟัน
catch - catches = จับ
go - goes = ไป
box - boxes = ชก
brush - brushes = แปรงฟัน
catch - catches = จับ
go - goes = ไป
box - boxes = ชก
2.กริยาที่ลงท้ายด้วย y และหน้า y ไม่ใช่ a e i o u ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es
study studies เรียน,
cry - cries = ร้องไห้,
fry - fries = ทอด
cry - cries = ร้องไห้,
fry - fries = ทอด
3. กริยาที่นอกเหนือจากที่ไม่เข้ากฎในข้อ 1 และ ข้อ 2 ให้เติม s ได้เลย
Adverb of Frequency ใช้ขยายคำกริยา เพื่อบอกถึงความถี่ของการกระทำ และจะวางไว้หน้าคำกริยานั้นๆด้วย ยกเว้น sometimes อยู่ ต้นประโยคก็ได้ เช่น
always สม่ำเสมอ 100 % usually เป็นประจำ 80 %
often บ่อยๆ 60 % sometimes บางครั้งบางคราว 30 %
seldom นานๆครั้ง 10 % never ไม่เคย 0 %
Examples:
Sandy always goes to school early.
Mary usually cooks dinner.
We often drink milk.
I never go to London.
Sometimes I eat pizza for lunch.
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++
"Video"
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น